การทำระดับตามขวาง
( Cross-section )
การทำ Cross-section คือการหาระดับดินเดิม
existing groan ไปในแนว ตั้งฉากกับเส้นฐานกับแนวสำรวจ
หรือ
ตั้งฉากกับแนว Center line ของการทำ
profile
ค่าระดับดินเดิมที่ได้นำลงมาเขียนในกระดาษเขียนแบบ จุดประสงค์
คือค่าของงานดิน ให้ได้ความจริงมากที่สุด
การเก็บค่าระดับดินเดิมบางจุดบน station
ที่มีผลทำให้ระดับดินเดิม
ซึ่งนำ มาคำนวณแล้ว ได้ค่าที่ผิด จากความเป็นจริงมาก
ให้หลีกเลียงการหาระดับจากจุดที่ใกล้เคียง ซึ่งเมือนำไป
คำนวณ จะได้ค่าที่ใกล้เคียงกว่ามากกว่า
วิธีการทำ Cross-section งานสนาม
หมุดที่ใช้ทำระดับ คือ BM TBM
บน Center line ของงาน profile
การทำงานจะต้องสร้างแนวCenter line
ตรงที่กำหนด ในกรณี
ที่ต้องเพิ่มหมุดเสริมเป้าไปอีก เช่น บริเวรที่มีพื้นที่แตกต่างกันมาก
จุดที่ต้องทำ
Cross-section
1.ทุกจุด station ของงาน
Profile 2.ทุกจุดที่มีท่อ 3.ทุกจุดที่มีทางน้ำ
4.คอสะพานและทุกจุดของทางแยก
ขอบเขตของการเก็บ
Cross-section
การเก็บระดับทำกันตามแนวกว้างยาวว่า เช่นต้องการถนนกว้าง 10
เมตรและในกรณีการทำการขุดลอกแหล่งน้ำ
คลองส่งน้ำ ต้องเก็บระดับตลิ่ง คลองข้างละไม่น้อยกว่า 10 เมตร
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
กำหนดจุด Center line จุดละ 25 เมตร กำหนดด้าน
RT และ LT เพื่อใช้ตั้ง
staff เมื่อต้องการย้ายกล้องให้ส่องTpทุกครั้ง
รูปภาพการปฏิบัติงาน1
การจดงานและการคำนวณ จากการปฏิบัติงาน
Sta |
BS |
HI |
FS |
Elev |
rok |
rok |
rok |
rok |
rok |
B |
1.360 |
101.360 |
|
100.000 |
ตรงกลาง |
|
|
|
|
0+000 |
|
|
ด้านซ้าย |
LT |
CL |
RT |
ด้านขวา |
|
|
Dist |
20 |
15 |
10 |
5 |
0 |
5 |
10 |
15 |
20 |
Rod |
1.496 |
1.396 |
1.438 |
1.462 |
1.400 |
1.380 |
1.373 |
1.468 |
1.400 |
Elev |
99.864 |
99.964 |
99.922 |
99.889 |
99.960 |
99.980 |
99.987 |
99.892 |
99.960 |
0+025 |
|
|
ด้านซ้าย |
LT |
CL |
RT |
ด้านขวา |
|
|
Dist |
20 |
15 |
10 |
5 |
0 |
5 |
10 |
15 |
20 |
Rod |
|
1.430 |
1.421 |
1.397 |
1.362 |
1.341 |
1.378 |
1.304 |
1.406 |
Elev |
|
99.990 |
99.939 |
99.963 |
99.998 |
100.019 |
99.982 |
100.056 |
99.954 |
TP1 |
1.229 |
101.149 |
1.440 |
99.920 |
|
|
|
|
|
0+050 |
|
|
ด้านซ้าย |
LT |
CL |
RT |
ด้านขวา |
|
|
Dist |
20 |
15 |
10 |
5 |
0 |
5 |
10 |
15 |
20 |
Rod |
|
|
1.360 |
1.410 |
1.423 |
1.370 |
1.391 |
1.422 |
1.312 |
Elev |
|
|
99.789 |
99.739 |
99.726 |
99.779 |
99.758 |
9.727 |
99.837 |
0+100 |
|
|
ด้านซ้าย |
LT |
CL |
RT |
ด้านขวา |
|
|
Dist |
20 |
15 |
10 |
5 |
0 |
5 |
10 |
15 |
20 |
Rod |
|
1.300 |
1.330 |
1.361 |
1.366 |
1.402 |
1.409 |
1.428 |
|
Elev |
|
99.849 |
99.819 |
99.788 |
99.783 |
99.747 |
99.740 |
99.721 |
|
TP2 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การตรวจสอบความถูกต้องของงาน
นำผลรวมBSและ FSลบกัน
2.589-2.867 = -0.278 OK 99.722-100.00= -0278 OK
วิธีการคำนวณทั้งหมด นำค่า elev+bs=hi-fsและค่าระดับตามขวางทั้งหมด=elev ตามสูตร
100.000+1.360=hi 101.360-1.496=99.864
hi 101.360-1.396=99.964 hi
101.360-1.438=99.992
นำ hi
ตัวเดิม ลบกันไปจนกว่าจะ
ย้ายกล้อง ( TP ) ถ้าย้ายกล้องให้นำค่า
hi-Fsตัวที่ย้าย fs
=1.440 101.360-1.440=99.920
+BS 1.229=101.149
นำค่า hi
ตัวนี้-กับทุกค่าที่เป็นค่าระดับขวาง
( IFS )
101.149 -1.360=99.789
101.149
-1.410=99.739
ทำอย่างนี้ไปจนถึงจุดสิ้นสุดของงานครับ
( ขอบคุณภาพถ่ายจากกรมแผนที่ทหาร )
ติดต่อผู้จัดทำเว็บ
และดูแลระบบ
นาย พันกวี
จุลกระเศียร เบอร์โทร
063-4216162