งานคำนวณสำรวจ

        การสำรวจ          เป็นศาสตร์ของหาความสัมพันธ์ ทั้งอยู่บนดิน และใต้ดิน โดยวิธีวัดทั้งทางตรงและทางอ้อม การวัดทิศทาง การหาค่าระดับซึ่งก็จะ                       
เป็นการรังวัดมุม และการรังวัดระยะเบื้องต้น ของการสำรวจ  เพราะฉะนั้นการที่จะศึกษาวิชาสำรวจจะต้อง มีความรู้ทาง คณิตศาสตร์และ ฟิสิกส์เป็นอย่างดี

                               ชนิดของการการสำรวจ

        1.การสำรวจบทบังคับแผ่นที่ conton survey เป็นการสำรวจทางราบ และทางดิ่งรวมทั้งการสมมุติเป็นการสำรวจทิศทางต่างๆ
       
2.การสำรวจกรรมสิทธ์ที่ดิน properg
       
3.การสำรวจภูมิประเทศ toporuphie survey เป็นการสำรวจเพื่อหา ลักษณะ ผิวพบเราจะได้แผนที่ภูมิศาสตร์

       

           กล้องวัดมุม   ใช้สำหรับวัดมุมเพื่อหาพื้นที่ความโค้งเพื่อต้องการทราบมุมของจุดต่างๆ

 

            การตั้งฟองกลม  จะหมุนตั้งเป็นคู่ก่อนแล้วจึงมาหมุนเดียว  สมมุติว่าตอนนี้ฟองกลมอยู่ตรงกลาง ( ถ้าหมุนเข้าฟองกลมจะวิ่งไปทางขวา ถ้าหมุนออกจะไปทางซ้าย ) หลังจากนั้นก็มาหมุนเดียว ( ถ้าหมุนตามเข็มนาฬิกา ฟองกลมก็จะวิ่งขึ้น ถ้าหมุนทวนเข็มฟองกลมก็จะวิ่งลง )

 หน่วยวัดของโซ่วัดระยะ  ( แปลงโซ่เป็นเมตรให้นำมา คูณ 40 ถ้าแปลงเมตรเป็นโซ่ให้นำมา หาร 40 )

1 เส้น  = 100 ข้อ  =  40 เมตร

1 ข้อ  =  10 ปอย  =  40  ซม.

1 ปอย =  10 ปวน  =  4   ซม.

1 ปวน=  4มม.

 

การวัดมุม  Diriction angle แบบที่ 1
( รูรับแสงอยู่ด้านซ้าย )

ขั้นตอนการปฎิบัติงาน

1.ตั้งกล้องให้ได้ระดับและตรงหมุด เมือกล้องได้ระดับและตรง หมุดและปรับ กล้องให้ได้กล้องหน้าซ้าย ( รูรับแสงอยู่ ด้านซ้าย )

2.ทำการ set จานองศา ราบ H เป็น 0 00’ 00” ในการวัดแบบ  Diriction angle วัดตามเข็มนาฬิกา ส่องที่เป้า L1

3.ทำการ ล็อกเป้า L1 ให้ได้  0 00’ 00” จากนั้นคลายตัวล็อกแล้วทำการส่องเป้า  L2 ล็อกแล้วอ่านค่า จดลงสมุดสนาม

4.ทำการ กระดกกล้อง กลับเป็น กล้องหน้าขวา  คลายล็อก( รูรับแสงอยู่ด้านขวา )หมุนกล้องตามเข็มนาฬิกา มาที่เป้า L1

ทำการล็อก L1 จะได้ค่า  180 00’ 00” พอดี ถ้าไม่ได้แสดงว่าส่อง เป้าไม่ตรงจุด แล้วจดลงสมุดสนาม เป็นค่า R1 แล้วส่องไปที่ L2

จะได้เป็นค่า R2  

รูปการปฏิบัติงาน

 

 

ผลการปฏิบัติงาน

หมุด

 

หน้ากล้อง

มุมราบ

มุมเฉลี่ย

กล้อง

เป้า

 

 

 

L1

00 00 00

 

 

 

L2

58  35  10

58  35  10

 

R1

180  00  00

 

 

R2

238  35  16

58  35  16

58  35  13

  

การคำนวณ    00 00’ 00” – 58 35’ 10”      = 58 35’ 10”

 238  35’ 16” – 180 00’ 00”= 58  35’ 16”

58 35’ 10”+ 58  35’ 16” = 117  10’  26”

117  10’  26”หาร 2 = 58  35’  13”
 

การวัดมุม  Diriction angle แบบที่ 2
( รูรับแสงอยู่ด้านขวา )

ขั้นตอนการปฎิบัติงาน

1.ตั้งกล้องให้ได้ระดับและตรงหมุด เมือกล้องได้ระดับและตรง หมุดและปรับ กล้องให้ได้กล้องหน้าขวา ( รูรับแสงอยู่ ด้านขวา )

2.ทำการ set จานองศา ราบ H เป็น 0 00’ 00” ในการวัดแบบ  Diriction angle วัดตามเข็มนาฬิกา ส่องที่เป้า L1

3.ทำการ ล็อกเป้า L1 ให้ได้  0 00’ 00” จากนั้นคลายตัวล็อกแล้วทำการส่องเป้า  L2 ล็อกแล้วอ่านค่า จดลงสมุดสนาม

4.ทำการ กระดกกล้อง กลับเป็น กล้องหน้าซ้าย  คลายล็อก( รูรับแสงอยู่ด้านซ้าย )นำค่ามุมมาทิ้งที่ L1 คลายล็อกแล้ว

ทำการเปิดกล้อง ไปที่ L2 เป็นค่า 4L/R จดลงสมุด

    ผลการปฎิบัติงาน

หมุด

 

หน้ากล้อง

มุมราบ

มุมเฉลี่ย

กล้อง

เป้า

 

 

 

L1

00 00 00

 

 

 

L2

60 46 30

60  46  30

 

4L/R

121  32  10

 60  46  05

 60  46  17.5

การคำนวณ    00 00’ 00” – 60 46’ 30”      = 60 46’ 30”

212  32’  10”หาร 2 = 60  46’  05”

60 46’ 30” + 60  46’  05”หาร2

 =  60  46'  17.5"

                                           

  ติดต่อผู้จัดทำเว็บ และดูแลระบบ 
นาย พันกวี  จุลกระเศียร
เบอร์โทร  063-4216162
 

 

 

กลับไปหน้าสำรวจ                          อ่านต่อคลิ๊กตรงนี้